พระบูชาคชาสนะ ศิลปะมัณฑะเลย์ พระครูบาบุญชุ่ม ญาณสํวโร วัดพระธาตุดอนเรือง เนื้อทองเหลือง
|
||||||||||||||||
|
||||||||||||||||
ส่งข้อความ
|
||||||||||||||||
ชื่อร้านค้า
|
พลศรีทองพระเครื่อง2 ( บู เชียงราย ) | |||||||||||||||
โดย
|
ponsrithong2 | |||||||||||||||
ประเภทพระเครื่อง
|
พระเครื่องครูบาบุญชุ่ม | |||||||||||||||
ชื่อพระ
|
พระบูชาคชาสนะ ศิลปะมัณฑะเลย์ พระครูบาบุญชุ่ม ญาณสํวโร วัดพระธาตุดอนเรือง เนื้อทองเหลือง |
|||||||||||||||
รายละเอียด
|
พระบูชาคชาสนะ ศิลปะมัณฑะเลย์ พระครูบาบุญชุ่ม ญาณสํวโร วัดพระธาตุดอนเรือง เนื้อทองเหลือง แจกลูกศิษย์ที่ใกล้ชิดเท่านั้น งานวันเกิดท่าน 5 มกราคม ปี2560 พระชุดนี้แทบไม่มีหมุนเวียนชื้อขายครับ ใครได้ไปครอบครอบถือว่ามีบุญวาสนา ภาวนากับพระโพธิสัตว์ขอได้ไหว้รวย มีแต่จริญ หมั่นภาวนา หมั่นทำบุญ ทำทาน คําว่า “คชาสนะ” มาจาก “คช + อาสนะ” คช-ช้าง, อาสนะ-ที่นั่ง “คชาสนะ” จึงหมายถึงที่นั่งบนหลังช้าง การทำพระพุทธรูปประทับนั่งบนช้างสามเศียรพบไม่มากนักในแผ่นดินสยาม ข้อสำคัญไม่พบในศิลปะรุ่นเก่าอย่างยุคทวารวดี ศรีวิชัย ลพบุรี อู่ทอง สุโขทัยเลย พบแค่สมัยอยุธยาตอนปลายมาแล้วถึงต้นรัตนโกสินทร์เท่านั้น ในขณะที่ฐานรูปช้างสามเศียร/ช้างสามเชือก/หรือเกินกว่าสามตัว พบค่อนข้างมากในศิลปกรรมพม่า นับแต่สมัยพุกามราวพุทธศตวรรษที่ 16 ลงมา โดยเฉพาะในช่วงที่ศิลปะอังวะ มัณฑะเลย์ เรืองอำนาจราว 400-500 ปีที่แล้ว ได้รับความนิยมอย่างสูงสุดในช่วง 200 ปีที่ผ่านมา ในงานศิลปกรรมของชาวไทใหญ่ ไทขึนในรัฐฉาน โดยมากเป็นพระไม้ลงรักปิดทอง ข้อแตกต่างระหว่าง “คชาสนะ” ในพม่ากับไทยก็คือ ในพม่าพระพุทธรูปแสดงออกด้วยปางมารวิชัยทั้งหมด ส่วนของไทยซึ่งพบไม่มากนัก ล้วนแล้วแต่ทำเป็นปางสมาธิ... |
|||||||||||||||
ราคา
|
โชว์ | |||||||||||||||
เบอร์โทรศัพท์ติดต่อ
|
0639695995 | |||||||||||||||
ID LINE
|
@fsd8020u (มี@) | |||||||||||||||
จำนวนการเข้าชม
|
59 ครั้ง | |||||||||||||||
บัญชีธนาคารที่ใช้ยืนยันตัวตน
|
ยังไม่ส่งข้อมูล
|
|||||||||||||||
แสดงความคิดเห็น | ||||||||||||||||
|